Close
  • TH
  • |
  • EN
  • Facebook
  • Youtube
  • CSR

  • Close
  • EN
  • Facebook
  • Youtube
  • ESG
  • หน้าหลัก
  • บทวิเคราะห์
  • บริการ
  • นักลงทุนสัมพันธ์
  • Trinity Academy
  • Trinity Member
  • ร่วมงานกับเรา
  • ติดต่อเรา
  • เปิดบัญชี
  • Trinity
    Member
  • ดาวน์โหลด
  • Suitability

INSIGHT TO INVEST

เข้าใจลึกซึ้ง เข้าถึงทุกการลงทุน

  1. หน้าแรก
  2. แหล่งความรู้
  3. ด้านตราสารอนุพันธ์
  • หลักทรัพย์ & อนุพันธ์
  • หุ้นกู้
  • ลงทุนในเวียดนาม
  • คริปโทเคอร์เรนซี่
  • ทองคำ
  • บทความการลงทุน
  • อธิบายคำศัพท์
  • เริ่มต้นลงทุนในตราสารอนุพันธ์

  • รู้จักอนุพันธ์
  • ประเภทหลักของตราสารอนุพันธ์
  • ตราสารอนุพันธ์ที่ขายในตลาด
  • ซื้อขายอนุพันธ์ต่างจากซื้อขายหุ้น
  • เริ่มต้นการซื้อขาย

  • ขั้นตอนในการซื้อขาย
  • สัญลักษณ์ย่อในการซื้อขาย
  • สิ่งที่ต้องรับทราบในการซื้อขาย
  • Equity

  • SET50 Index Futures
  • SET50 Index Options
  • Single Stock Futures
  • Sector Index Futures
  • Currency

  • USD Futures
  • Precious Metal

  • Gold Futures
  • Defferred Precious Metal

  • Gold - D
  • Interest Rate Futures

  • 3M BIBOR Futures
  • 5Y Gov Bond Futures
  • Agriculture

  • RSS3D Futures
  • RSS3 Futures
  • เริ่มต้นลงทุนในตราสารอนุพันธ์

  • รู้จักอนุพันธ์
  • ประเภทหลักของตราสารอนุพันธ์
  • ตราสารอนุพันธ์ที่ขายในตลาด
  • ซื้อขายอนุพันธ์ต่างจากซื้อขายหุ้น
  • เริ่มต้นการซื้อขาย

  • ขั้นตอนในการซื้อขาย
  • สัญลักษณ์ย่อในการซื้อขาย
  • สิ่งที่ต้องรับทราบในการซื้อขาย
  • Equity

  • SET50 Index Futures
  • SET50 Index Options
  • Single Stock Futures
  • Sector Index Futures
  • Currency

  • USD Futures
  • Precious Metal

  • Gold Futures
  • Defferred Precious Metal

  • Gold - D
  • Interest Rate Futures

  • 3M BIBOR Futures
  • 5Y Gov Bond Futures
  • Agriculture

  • RSS3D Futures
  • RSS3 Futures

วิธีการซื้อขายอนุพันธ์ ต่างจากวิธีการซื้อขายหุ้น


การซื้อขายอนุพันธ์มีขั้นตอนหรือกระบวนการซื้อขายที่คล้ายกับการซื้อขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ คือผู้ลงทุนที่ต้องการซื้อขายในตลาดอนุพันธ์ ทำการสั่งซื้อหรือขายผ่านโบรกเกอร์ ซึ่งโบรกเกอร์นี้ต้องเป็นสมาชิกของตลาดอนุพันธ์ เมื่อผู้ลงทุนส่งคำสั่งซื้อขายผ่านโบรกเกอร์แล้ว โบรกเกอร์จะส่งคำสั่งซื้อขายมายังระบบซื้อขายของตลาดอนุพันธ์ โดยตลาออนุพันธ์จะทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางคอยจับคู่คำสั่งซื้อขายด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ วิธีการจับคู่คำสั่งซื้อขาย 

 

วิธีการจับคู่คำสั่งซื้อขายอนุพันธ์ ใช้วิธีเดียวกับการจับคู่คำสั่งซื้อขายของหุ้น 



วิธีการจับคู่คำสั่งซื้อขายอนุพันธ์ ใช้วิธีเดียวกับการจับคู่คำสั่งซื้อขายหุ้นของตลาดหลักทรัพย์ คือ ใช้หลัก Price / Time priority โดยผู้ลงทุนจะส่งคำสั่งซื้อ (Bid) หรือ คำสั่งขาย (Offer) โดยคำสั่งทุกรายการจะเข้ามาบันทึกอยู่ในระบบเพื่อรอการจับคู่ สัญญาฟิวเจอร์ส จะมีการจับคู่เกิดขึ้นก็ต่อเมื่อราคาซื้อเท่ากับ หรือสูงกว่าราคาขาย โดยผู้ที่ส่งคำสั่งซื้อเข้ามาจะมีฐานะเป็นผู้ซื้อ ผู้ที่ส่งคำสั่งขายเข้ามาก็จะมีฐานะเป็นผู้ขาย คำสั่งซื้อที่มีราคาสูงกว่าจะได้รับการจับคู่ก่อนคำสั่งซื้อที่มีราคาต่ำกว่า และคำสั่งขายที่มีราคาต่ำกว่าจะได้รับการจับคู่ก่อนคำสั่งขายที่มีราคาสูงกว่า ในกรณีที่ราคาสั่งซื้อหรือขายมีค่าเท่ากัน คำสั่งที่ถูกส่งเข้ามาก่อนจะได้รับการจับคู่ก่อน

 

การส่งรายละเอียดการซื้อขายอนุพันธ์ไปยังสำนักหักบัญชี (TCH) 



เมื่อระบบทำการจับคู่คำสั่งซื้อขายแล้ว ระบบจะส่งรายละเอียดของรายการซื้อขายนั้นผ่านไปยัง สำนักหักบัญชี (TCH) เพื่อทำหน้าที่ในการชำระราคา หรือก็คือ สำนักหักบัญชีจะมีหน้าที่คิดกำไรขาดทุนที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน และดูแลการรับและจ่ายเงินนั่นเอง สำนักหักบัญชีจึงมีบทบาทสำคัญในตลาดอนุพันธ์ โดยนอกจากดูแลการชำระราคาแล้ว ยังสร้างความน่าเชื่อมั่นให้กับผู้ซื้อขาย โดยเข้ามาเป็นคู่สัญญาให้กับโบรกเกอร์ และเป็นผู้รับประกันการชำระราคาตามจำนวนและเวลาที่กำหนดไว้


ทั้งนี้ สำนักหักบัญชีจะวางระบบบริหารความเสี่ยงไว้เพื่อเป็นการลดความเสียหายที่อาจเกิดจากการเข้าไปรับความเสี่ยงจากคู่สัญญา โดยสำนักหักบัญชีจะกำหนดให้โบรกเกอร์ต้องวางเงินหลักประกัน (Margin) กับสำนักหักบัญชีเพื่อลดความเสียหายจากการผิดสัญญา ในขณะที่โบรกเกอร์ก็จะกำหนดให้ลูกค้าต้องวางเงินประกันไว้กับโบรกเกอร์อีกต่อหนึ่ง

นอกจากนี้ สำนักหักบัญชีจะกำหนดให้ผู้ที่มีฐานะในตลาดอนุพันธ์ไม่ว่าจะเป็นฐานะซื้อ หรือขายในสินค้าตัวใดก็ตาม จะต้องรับรู้กำไร หรือขาดทุนจากฐานะดังกล่าวทุกวัน จนกว่าฐานะในสัญญาจะถูกปิด กระบวนการนี้้เรียกว่า Mark to Market โดยทุกสินวันตลาดก็จะกำหนดราคาที่ใช้ชำระราคาสำหรับอนุพันธ์แต่ละตัว เรียกว่า Sattlement Price จากนั้น สำนักหักบัญชีจะนำราคา Sattlement Price นี้มาคำนวณกำไรขาดทุนที่เกิดขึ้น แล้วนำกำไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้น โอนเข้า หรือ หักออก จากบัญชีเงินหลักประกัน

Trinity Academy

ห้องเรียนการลงทุนอย่างมืออาชีพ

ลงทุนหุ้นจีนผ่าน DRx ง่ายนิดเดียว!

ความรู้การลงทุนหุ้น อนุพันธ์ และสินทรัพย์อื่นๆ

บทความการลงทุน

สอบถามข้อมูลทั่วไป

0-2088-9100

สอบถามข้อมูลซื้อขายหลักทรัพย์

0-2343-9555

e-mail

trinity@trinitythai.com

Shortcut Menu

หน้าหลัก

บทวิเคราะห์

  • บทวิเคราะห์ล่าสุด
  • ปัจจัยทางเทคนิค
  • ปัจจัยพื้นฐาน
  • บทวิเคราะห์รายหลักทรัพย์
  • บทวิเคราะห์ราย Sector
  • Trinity Quick Win

ประกาศและข่าวสาร

  • ประกาศ
  • ประกาศทั่วไป
  • ข้อมูลเกี่ยวกับซื้อขายทางอินเทอร์เน็ต
  • ปฏิทินหลักทรัพย์

ข้อมูลนักลงทุน

  • เจาะเทรนด์ลงทุน
  • กลยุทธ์การลงทุน
  • ความรู้การลงทุน
  • กลยุทธ์ทางเทคนิค
  • สัมมนา
  • เจาะเทรนด์ลงทุน
  • บทความการลงทุน

ข้อมูลสมาชิก

ติดต่อเรา

  • นโยบายการใช้คุ้กกี้
  • การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
  • Home
  • Ask a Question
  • Contact Us
  • FAQs

Copyright 2025 All right reserved. Trinity Securities Group.

บริษัทฯ มีการใช้งานคุกกี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานเว็บไซต์ของคุณกรุณากด ยอมรับ เพื่อยินยอมให้บริษัทฯ ใช้คุกกี้ คุณสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมที่ นโยบายการใช้คุกกี้